SELECT autopage4_data_topic.IdTopic , autopage4_page_topic.DataDetail , autopage4_page_topic.TitleDetail FROM autopage4_page_topic INNER JOIN autopage4_data_topic ON autopage4_data_topic.IdTopic = autopage4_page_topic.IdTopic AND autopage4_data_topic.IdTopic = 1611
ภาวะชัก ถ้ารู้จริงแค่เรื่องเด็กๆ
ෳภาวะชัก෴ อาจเป็นเรื่องน่ากลัวสำหรับพ่อแม่หลายๆ คนซึ่งต้นเหตุของภาวะนี้อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ ในที่นี้จะขอกล่าวถึงสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็กเล็ก คือภาวะชักจากไข้สูง ซึ่งหากพ่อแม่เข้าใจและดูแลลูกน้อยอย่างถูกวิธี ภาวะชักจากไข้สูงนี้ก็ไม่ใช่เรื่องที่น่ากลัวอีกต่อไป
Q : เด็กที่เคยชักจากไข้สูง จะมีโอกาสเป็นโรคลมชักหรือไม่
A: โดยทั่วไปความเสี่ยงในการเป็นโรคลมชักในอนาคตไม่ได้แตกต่างจากเด็กปกติทั่ว ไป ยกเว้นในรายที่มีอาการชักนานกว่า 15 นาที มีอาการชักซ้ำมากกว่า 1 ครั้งภายใน 24 ชั่วโมง มีวามผิดปกติทางสมองและพัฒนาการก้อนมีอาการชัก หรือมีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคลมชักก็จะมีโอกาสเป็นมากกว่าเด็กปกติ
Q : จะทำอย่างไรดีเมื่อลูกชัก
A : ตั้งสติ อย่าตกใจ จับลูกนอนตะแคง เพื่อป้องกันการสำลัก ห้ามใช้นิ้ว หรือวัสดุใดๆ ล้วงหรืองัดปากลูกถ้ามีอาการชักนานมากกว่า 3-5 นาที หรือรอบปากมีสีเขียวคล้ำ ควรรีบนำส่งโรงพยาบาลเพื่อทำการรักษาในเบื้อต้นที่เหมาะสมต่อไป
Q : ภาวะชักจากไข้สูงมีลักษณะเป็นอย่างไร
A : ผู้ป่วยจะมีอาการชักแบบเกร็งหรือกระดูดทั้งตัว อาการนี้เกิดขึ้นขณะที่มีไข้สูง โดยทั่วไปจะมีอุณหภูมิสูงกว่า 38.5 องศาเซลเซียส ซึ่งอาการนี้จะพบในเด็กอายุตั้งแต่ 6 เดือนไปจนกระทั่ง 5-6 ปี แต่มักจะพบบ่อยในกลุ่มเด็กเล็กที่มีช่วงอายุประมาณ 1-2 ปี
Q : นอกจากภาวะนี้ อาจเกิดโรคหรือภาวะอื่นขึ้นอีกได้หรือไม่
A : การที่เด็กมีไข้ และมีอาการชักตามมานั้น อาจเกิดจากภาวะอื่นๆ ได้ เช่น การติดเชื้อในสมองหรือเยื่อหุ้มสมองดังนั้นในบางรายอาจจำเป็นต้องตรวจน้ำไข สันหลัง โดยเฉพาะในเด็กที่อายุน้อยกว่า 1 ปี โดยบางครั้งอาจพบว่าเด็กมีอาการซึมลง รับประทานอาหารน้อยลง หรืออาเจียนร่วมด้วย
Q : ภาวะนี้มีผลต่อพัฒนาการหรือสติปัญญาของเด็กหรือไม่
A : โดยทั่วไปภาวะนี้จะไม่มีผลต่อพัฒนาการหรือการเรียนรู้ของเด็กที่ปกติแล้วมี ความแข็งแรงดี ยกเว้นในบางรายที่มีอาการชักติดต่อกันเป็นเวลานาน (โดยเฉพาะถ้านานมากกว่า 30 นาที) จนมีภาวะตัวเขียวเนื่องจากขาดออกซิเจน กรณีนี้อาจส่งผลต่อสมองได้ โดยทั่วไปอาการชักชนิดนี้มักจะหยุดเองภายในเวลา 3-5 นาที จึงไม่มีอันตรายต่อสมองของเด็ก
Q : ลูกจะมีโอกาสชักซ้ำถ้ามีไข้สูงอีกหรือไม่
A : โดยทั่วไปประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่ายจะมีโอกาสชักซ้ำได้ถ้ามีไข้สูงจนกว่าจะมีอายุ 5-6 ปีไปแล้ว ส่วนในรายที่เริ่มมีอาการชักจากไข้ครั้งแรกก่อนอายุ 1 ปี และมีประวัติว่าคนในครอบครัวมีภาวะนี้เกิดขึ้นในตอนเด็ก อาจมีโอกาสชักซ้ำได้มากขึ้น
Q : จะป้องกันอาการชักซ้ำเมื่อมีไข้สูงอย่างไร
A : ถ้าพบว่าลูกมีไข้สูงควรใช้ยาลดไข้พาราเซตามอลและเช็ดตัวลดไข้ทันที ทั้งนี้ควรพาไปพบแพทย์ เพื่อตราจหาสาเหตุของไข้และให้การรักษาที่เหมาะสมต่อไป
ที่มา www.siphhospital.com
ภาวะชัก ถ้ารู้จริง แค่เรื่องเด็กๆ
ภาวะชัก ถ้ารู้จริงแค่เรื่องเด็กๆ
ෳภาวะชัก෴ อาจเป็นเรื่องน่ากลัวสำหรับพ่อแม่หลายๆ คนซึ่งต้นเหตุของภาวะนี้อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ ในที่นี้จะขอกล่าวถึงสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็กเล็ก คือภาวะชักจากไข้สูง ซึ่งหากพ่อแม่เข้าใจและดูแลลูกน้อยอย่างถูกวิธี ภาวะชักจากไข้สูงนี้ก็ไม่ใช่เรื่องที่น่ากลัวอีกต่อไป
Q : เด็กที่เคยชักจากไข้สูง จะมีโอกาสเป็นโรคลมชักหรือไม่
A: โดยทั่วไปความเสี่ยงในการเป็นโรคลมชักในอนาคตไม่ได้แตกต่างจากเด็กปกติทั่ว ไป ยกเว้นในรายที่มีอาการชักนานกว่า 15 นาที มีอาการชักซ้ำมากกว่า 1 ครั้งภายใน 24 ชั่วโมง มีวามผิดปกติทางสมองและพัฒนาการก้อนมีอาการชัก หรือมีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคลมชักก็จะมีโอกาสเป็นมากกว่าเด็กปกติ
Q : จะทำอย่างไรดีเมื่อลูกชัก
A : ตั้งสติ อย่าตกใจ จับลูกนอนตะแคง เพื่อป้องกันการสำลัก ห้ามใช้นิ้ว หรือวัสดุใดๆ ล้วงหรืองัดปากลูกถ้ามีอาการชักนานมากกว่า 3-5 นาที หรือรอบปากมีสีเขียวคล้ำ ควรรีบนำส่งโรงพยาบาลเพื่อทำการรักษาในเบื้อต้นที่เหมาะสมต่อไป
Q : ภาวะชักจากไข้สูงมีลักษณะเป็นอย่างไร
A : ผู้ป่วยจะมีอาการชักแบบเกร็งหรือกระดูดทั้งตัว อาการนี้เกิดขึ้นขณะที่มีไข้สูง โดยทั่วไปจะมีอุณหภูมิสูงกว่า 38.5 องศาเซลเซียส ซึ่งอาการนี้จะพบในเด็กอายุตั้งแต่ 6 เดือนไปจนกระทั่ง 5-6 ปี แต่มักจะพบบ่อยในกลุ่มเด็กเล็กที่มีช่วงอายุประมาณ 1-2 ปี
Q : นอกจากภาวะนี้ อาจเกิดโรคหรือภาวะอื่นขึ้นอีกได้หรือไม่
A : การที่เด็กมีไข้ และมีอาการชักตามมานั้น อาจเกิดจากภาวะอื่นๆ ได้ เช่น การติดเชื้อในสมองหรือเยื่อหุ้มสมองดังนั้นในบางรายอาจจำเป็นต้องตรวจน้ำไข สันหลัง โดยเฉพาะในเด็กที่อายุน้อยกว่า 1 ปี โดยบางครั้งอาจพบว่าเด็กมีอาการซึมลง รับประทานอาหารน้อยลง หรืออาเจียนร่วมด้วย
Q : ภาวะนี้มีผลต่อพัฒนาการหรือสติปัญญาของเด็กหรือไม่
A : โดยทั่วไปภาวะนี้จะไม่มีผลต่อพัฒนาการหรือการเรียนรู้ของเด็กที่ปกติแล้วมี ความแข็งแรงดี ยกเว้นในบางรายที่มีอาการชักติดต่อกันเป็นเวลานาน (โดยเฉพาะถ้านานมากกว่า 30 นาที) จนมีภาวะตัวเขียวเนื่องจากขาดออกซิเจน กรณีนี้อาจส่งผลต่อสมองได้ โดยทั่วไปอาการชักชนิดนี้มักจะหยุดเองภายในเวลา 3-5 นาที จึงไม่มีอันตรายต่อสมองของเด็ก
Q : ลูกจะมีโอกาสชักซ้ำถ้ามีไข้สูงอีกหรือไม่
A : โดยทั่วไปประมาณ 1 ใน 3 ของผู้ป่ายจะมีโอกาสชักซ้ำได้ถ้ามีไข้สูงจนกว่าจะมีอายุ 5-6 ปีไปแล้ว ส่วนในรายที่เริ่มมีอาการชักจากไข้ครั้งแรกก่อนอายุ 1 ปี และมีประวัติว่าคนในครอบครัวมีภาวะนี้เกิดขึ้นในตอนเด็ก อาจมีโอกาสชักซ้ำได้มากขึ้น
Q : จะป้องกันอาการชักซ้ำเมื่อมีไข้สูงอย่างไร
A : ถ้าพบว่าลูกมีไข้สูงควรใช้ยาลดไข้พาราเซตามอลและเช็ดตัวลดไข้ทันที ทั้งนี้ควรพาไปพบแพทย์ เพื่อตราจหาสาเหตุของไข้และให้การรักษาที่เหมาะสมต่อไป
ที่มา www.siphhospital.com